วันพฤหัสบดีที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ปฏิบัติการที่ 4

15.Q: จงเขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณ NDVI จากสูตรต่อไปนี้ NDVI =(NIR-VR)/(NIR+VR) กำหนดให้ค่าระดับสีเทาของแบนด์ NIR (Near Infrered) มีค่าเท่ากับ 200 และค่ ระดับสีเทาของ VR (Visible red) มีค่าเท่ากับ 40
ตอบ
ตอบ


ปฏิบัติการที่ 4

12.Q: จากตัวอย่างใน string.php ให้นิสิตเขียนโค้ดใหม่ โดยใช้ชื่อนิสิตแทนชื่อในตัวอย่างในข้อ 10 แล้วลองปรับเปลี่ยนให้การเรียงชื่อให้แสดงออกผลออกมาตามตัวอย่างนี้ Jaideemak Boonchai, Mr.

ตอบ
ตอบ
ปฏิบัติการที่ 4


9.Q: จาก logical.php ให้นิสิตเขียนโค้ดเพิ่มเติมเพื่อแสดงค่าความจริงที่ว่า ($a+$b) มากกว่าหรือเท่ากับ ($c+$d) หรือไม่

ตอบ
ตอบ
ปฏิบัติการที่ 4

6.Q: จากประสบการณ์ที่นิสิตเคยเรียนมาในรายวิชาการเขียนโปรแกรมต่างๆนิสิตคิดว่าตัวดำเนินการทั้งสองลักษณะมักจะใช้ในสถานการณ์ใด

ตอบ ใช้ในการคำนวณสิ่งต่างๆในรอบตัว การใช้ชีวิตที่ต้องมีการแลกเปลี่ยนหรือการเรียนรู้ในทุกๆวัน การคำนวณต่งๆจะขึ้นอยู่กับสถานการณ์ของสิ่งนั้นๆ
ปฏิบัติการที่ 3

14.Q: ให้นิสิตลองเขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณพื้นที่ของวงกลม และเส้นรอบวงของวงกลม โดยกำหนดให้ค่า PL=3.14159265 แล้วกำหนดตัวแปรรัศมีเป็น 15 หน่วย


ตอบ



ตอบ
ปฏิบัติการที่ 3
7.Q:ให้นิสิตเขียนโปรแกรมการคำนวณพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า ที่มีความกว้าง 45 ความยาว 68 โดยให้นิสิตลองตั้งชื่อตัวแปรด้วยตนเอง แล้วให้ echo ผลออกมา
ตอบ


ตอบ


วันจันทร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

ปฏิบัติการที่ 3

4.Q:ให้ลองเพิ่มโค้ดให้แสดงผลในเบราเซอร์"ผมชื่อนาย Robert อายุ 25 ปี"โดยใช้ค่าตัวแปรในการแสดงผล

ตอบ
ตอบ




ทดลองเพิ่มโค้ดลงไปแล้วรีเฟรชเบราเซอร์ แล้วดูผลที่ได้












Bitmap
bitmap เป็นไฟล์ที่ใช้ชี้สีในแต่ละ Pixel ตามแกนนอนหรือแถว และสีสำหรับแต่ละ Pixel ในแกนตั้ง เช่น ไฟล์ GIF (Graphics Interchange Format) เก็บ bitmap ของภาพ ความคมชัดภาพบนจอภาพในบางครั้งแสดงในรูปของจุดต่อไว้ (dots per inch) จำนวนจุดต่อนิ้วจะหาได้โดยขนาดทางกายภาพของจอ และการตั้งค่าความละเอียด ถ้าตั้งค่าความละเอียดไว้ต่ำ ทำให้จุดต่อนิ้วต่ำด้วย ซึ่งจอภาพที่ใหญ่กว่าแต่มีค่าความละเอียดเท่ากัน จะทำให้ความคมชัดลดลง


Pixel
Pixel เป็นหน่วยพื้นฐานของสีในระบบโปรแกรมบนจอภาพหรือภาพ ซึ่งหน่วยที่มีลักษณะเป็นหน่วยทางตรรกะมากกว่ากายภาค ขนาดของ Pixel ขึ้นกับการกำหนดความละเอียด (Resolution) ของจอภาพ ถ้าตั้งค่าความละเอียดสูงสุดขนาดของ Pixel จะทำกับขนาดทางกายภาพของ dotpitch (ขนาดของจุด) ของจอภาพ การกำหนดสีของ pixel ใช้การกำหนดผสมของสีเปคทรัม RGB ข้อมูลขอสีสามารถคำนวณไบต์ได้ถึง 3 ไบต์ ซึ่ง 1 สำหรับแต่ละสี true Color หรือระบบสี 24 บิต จะใช้จำนวนไบต์ทั้ง 3 ไบต์ อย่างไรก็ตามระบบสีส่วนใหญ่ใช้ 8 บิต ซึ่งไฟล์สีได้ 256 สี



Host

1. บนอินเตอร์เน็ต คำว่า host หมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถเข้าถึงแบบสองทาง (two way access) อย่างเดิมที่ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นในอินเตอร์เน็ต host มีการเจาะจงด้วยหมายเลขของ local หรือ host พร้อมกับหมายเลขของเครือข่ายในรูปของ IP address แบบไม่ซ้ำ ถ้าใช้การติดต่อโปรโตคอลแบบ point-to-point ไปยังผู้ให้บริการ เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นจะมี IP address แบบไม่ซ้ำ ตลอดช่วงการติดต่อในครั้งนั้นกับอินเตอร์เน็ต ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องดังกล่าวมีฐานะเป็น host ในระยะเวลานั้น ดังนั้น host จึงเป็น node ในเครือข่าย


2. ใน IBM และระบบคอมพิวเตอร์แบบเมนเฟรม host คือเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมทำให้ความหมายนี้คือ เครื่องเมนเฟรมมีเครื่องลูกข่ายที่ติดต่อและการใช้บริการจาก host


3. ในความหมายอื่น ๆ คำนี้โดยทั่วไปหมายถึงอุปกรณ์หรือโปรแกรม ที่เป็นผู้ให้บริการกับอุปกรณ์ หรือโปรแกรมที่มีความสามารถต่ำกว่า

Intranet

Intranet เป็นเครือข่ายส่วนตัวของหน่วยธุรกิจที่ประกอบด้วยการเชื่อมต่อภายใน และสามารถ ใช้ lease line ในเครือข่ายแบบ WAN ตามปกติ intranet รวมถึงการติดต่อผ่าน gateway ไปยังระบบอินเตอร์เน็ตภายนอก จุดประสงค์หลักของ intranet อยู่ที่การใช้สารสนเทศภายในบริษัท และทรัพยากรของระบบคอมพิวเตอร์ระหว่างพนักงาน intranet สามารถใช้ในการทำงานเป็นกลุ่มหรือการประชุมทางไกล (Teleconference)


Intranet ใช้ TCP/IP, HTTP และโปรโตคอลของอินเตอร์เน็ตอื่น ๆ และเปรียบได้เป็นเวอร์ชันของอินเตอร์เน็ต ด้วยช่องทางดังกล่าว บริษัทสามารถส่งข้อความภายในผ่านเครือข่ายสาธารณะ โดยระบบความปลอดภัยพิเศษ ให้ไปยังอีกของระบบ intranet ตามปกติหน่วยงานขนาดใหญ่ยินยอมให้ผู้ใช้ภายใน intranet ติดต่อไปยังภายนอกโดยใช้การกลั่นกรองของ firewall ส่งการส่งออกและนำเข้า เมื่อส่วนใดของ intranet สามารถไปดึงลูกค้า หุ้นส่วน ผู้ขายสินค้า หรือบุคคลอื่น ภายนอกบริษัท ส่วนนั้นเรียกว่า Extranet



Extranet
extranet เป็นเครือข่ายส่วนตัวที่ใช้ internet protocol และระบบการสื่อสารสาธารณะที่มีความปลอดภัยในการแบ่งส่วนของสารสนเทศ หรือ การปฏิบัติงานของบริษัทกับผู้ขายสินค้า หุ้นส่วน ลูกค้า หรือธุรกิจอื่น extranet สามารถมองเห็นส่วนของ internal ที่มีขยายไปสู่ผู้ใช้ภายนอกบริษัท ซึ่งสามารถให้คำจำกัดความเป็น "สถานะของภายใน" ในขณะที่อินเตอร์เน็ตได้รับการพิจารณาว่าเป็นการทำธุรกิจกับบริษัทอื่น และการขายสินค้าให้ลูกค้า โดยใช้ประโยชน์จาก HTML, Hypertext Transfer Protocol (HTTP) , Simple Mail Transfer Protocol (SMTP) และเทคโนโลยีของอินเตอร์เน็ตที่ได้นำเข้าสู่อินเตอร์เน็ต หรือ intranet ที่ดูเหมือนได้รับการออกแบบในเชิงธุรกิจระหว่างธุรกิจต่างๆ extranet ต้องการความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว ทำให้ต้องการ firewall server ในการบริหารการจ่ายและใช้ของ digital certificate หรือวิธีคล้ายกันของ user authentication, การ encryption ข่าวสาร และการใช้เครือข่ายส่วนตัวเสมือน (virtual private network) ที่เป็นช่องทางในเครือข่ายสาธารณะ

วันจันทร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552


Geotag มีวีดีโอให้ดูด้วยครับพึ่ง อัพเดต
HTML (Hypertext Markup Language) เป็นกลุ่มของสัญลักษณ์หรือรหัสแบบ markup ที่เขียนในไฟล์สำหรับการแสดงบน web browser โดย markup จะบอก web browser ในการแสดงข้อความบนเว็บเพจ และภาพสำหรับผู้ใช้ รหัสแบบ markup ใช้การอ้างอิงส่วนประกอบ
Client เป็นการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 โปรแกรม โดยโปรแกรมหนึ่งที่เป็น client จะสร้างคำของบริการ จากอีกโปรแกรม หรือ server ที่จะทำให้การขอครบถ้วน ถึงแม้ว่าแนวคิด client สามารถใช้โดยโปรแกรมภายในคอมพิวเตอร์เครื่องเดียว แต่แนวคิดนี้ เป็นแนวคิดสำคัญในระบบเครือข่าย ในเครือข่ายแบบจำลอง client ให้แบบแผนการติดต่อภายในโปรแกรม ที่ให้ประสิทธิภาพการกระจายข้ามตำแหน่งที่ต่างกัน

แบบจำลอง client จะมีแม่ข่าย 1 แม่ข่าย บางครั้ง เรียกว่า daemon เป็นผู้กระทำ และคอยคำขอของ client

วันเสาร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552



Outernet ช่วยให้ server ต่างๆ สามารถส่งข้อมูลได้ง่ายและสะดวกมากขึ้นอย่างไม่มีข้อจำกัด ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการทำการตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์ต่างๆ โดยเฉพาะผู้บริโภคที่อยู่ระหว่างการเดินทางเป็นอย่างมาก


Hyperspectral เกิดจากการที่นักธรณีวิทยาใช้เครื่องตรวจคุณลักษณะเชิงคลื่น(spectral characteristic)หรือที่เรียกว่า Spectroscopy ในการพิสูจน์ทราบ ว่าวัตถุต้องสงสัย เป็นแร่ชนิดใด เพราะธรรมชาติของแร่แต่ละชนิดจะมีการสะท้อน ดูดซับ กระจาย แสงไม่เหมือนกัน
Hyperspectral เน้นจำนวน band มากกว่า ขณะที่ภาพ Multispectral เน้นความละเอียดของภาพหรือ resolution มากกว่าจำนวน band
มุมมองหนึ่งภาพ Hyperspectral เป็นข้อมูล 3 มิติแบบลูกบาศก์ โดยที่ในแนวแกน X-Y เป็นข้อมูลภาพ(spatial information)ส่วน แกน Z แสดงข้อมูลของข้อมูลเชิงคลื่น( spectral information )




Geotag
การทำให้รูปไปปรากฏบนเว็บนั้นก็มีหลายวิธีแต่วิธีหนึ่งที่ดีและแม่นยำก็คือการที่รูปนั้นมีข้อมูลพิกัดฝังอยู่ในรูป ซึ่งไฟล์รูปประเภท jpeg นั้นมีที่ให้ใส่ข้อมูลพิกัดในข้อมูล EXIF ของรูปนั้นหรือการทำ geotagged photo

วิธีการที่จะใส่ข้อมูลพิกัดเข้าไปในรูป jpeg นั้นทำได้ 3 วิธี คือ

1.ใส่ข้อมูลเข้าไปโดยอัตโนมัติจากจีพีเอสโดยตรง ซึ่งต้องอาศัยกล้องถ่ายรูปที่มีจีพีเอสฝังอยู่ในกล้องหรือกล้องที่ต่อกับเครื่องจีพีเอสโดยสายข้อมูล
2.การใช้ข้อมูลจากจีพีเอสมารวมกับรูป ซึ่งต้องใช้เส้นการเดินทาง (track)ซึ่งเครื่องจีพีเอสที่เก็บเส้นการเดินทางได้มีทั้งแบบมือถือ เนวิเกเตอร์ และจีพีเอสแบบบลูทูธ โดยวิธีการทำโดยตั้งเวลากล้องดิจิทัลให้ตรงกับเครื่องจีพีเอสเมื่อรับสัญญาณได้
3.การใส่ข้อมูลพิกัดเข้าไปด้วยตัวเอง ซึ่งมีโปรแกรมจัดการรูปดิจิทัลหลายตัว วิธีการนี้จะต้องหาพิกัดของบริเวณที่ได้ถ่ายรูปนั้นจาก GE หรือ โปรแกรมอื่นๆ และทำได้โดยการสร้าง waypoint ในแต่ละจุดที่ถ่ายรูปแต่ก็ค่อนข้างยุ่งยาก จากนั้นก็มากรอกข้อมูลเข้าไปใน EXIF เอง

ประโยชน์ของการทำรูป geotagged
ช่วยในการนำทาง เนวิเกเตอร์ โทรศัพท์มือถือ และจีพีเอสมือถือรุ่นใหม่ๆ รองรับการนำทางด้วยภาพ โดยโหลดรูป geotagged เข้าไปในเครื่องหรือเอาใส่หน่วยความจำภายนอก เมื่อจะให้นำทางก็เพียงเลือกรูปที่จะไป ซึ่งง่ายกว่าการไปหาในฐานข้อมูลของแผนที่ หรือการที่ให้ใครมาหาเรา หรือบอกให้ใครไปที่ใดก็เพียงส่งรูปผ่านอีเมล์ไปให้อีกคนที่มีเครื่องที่รองรับการนำทางด้วยรูป
จะเห็นได้ว่านี่เป็นอีกพัฒนาการอีกขั้นของจีพีเอส ที่นำมาใช้งานร่วมกับกล้องถ่ายรูปแล้วทำให้เกิดสิ่งใหม่ขึ้นบนโลก ที่ในอดีตทำได้ยาก ผมเห็นว่านี่เป็นเพียงจุดเริ่มต้นเท่านั้นของการนำจีพีเอสมาใช้ร่วมกับสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่แล้ว แต่ทำให้การรวมกันของสองสิ่งนั้นเกิดสิ่งใหม่ๆ เพื่อความสะดวกและก้าวหน้าของทุกคน


Digital Image Procressing จะเกี่ยวข้องกับ Remote Sensing

วันอาทิตย์ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2552



SQL ข้อ p
SELECT Student.Studentid,Student.Name,Register.score,Register.Grade,Subject.Name,Student.Club FROM Register,Student,Subject WHERE (Register.Studentid = Student.Studentid) AND(Register.Subjectid = Subject.Subjectid AND Register.Subjectid = 104111 AND Club LIKE 'ภูมิศาสตร์');

SQL ข้อ o
SELECT Student.Studentid,Student.Name,Register.Score,Register.Grade,Subject.NameFROM Register,Student,Subject WHERE (Register.Studentid = Student.Studentid) AND(Register.Subjectid = Subject.Subjectid AND Register.Subjectid = 104111);

ให้เลือกแสดงฟิลด์รหัสนิสิต ชื่อนิสิต เกรด ชื่อวิชา จากตารางการลงทะเบียน นิสิตรายวิชา โดยมีเงื่อนไขคือต้องแสดงเฉพาะรหัสวิชา 104111


SQL ข้อ k
SELECT Subjectid,Name,Credit FROM Subject WHERE Subject = 104111;


SQL ข้อ j
SELECT Subjectid,Name,Credit FROM Subject;


SQL ข้อ i
SELECT Subjectid,Name,Credit,Book,teacher;

วันจันทร์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2552

Microsoft Access
การสร้างฐานข้อมูล

1.เปิดโปรแกรมขึ้นมาครั้งแรกให้คุณคลิกที่เมนูแฟ้ม > สร้างก็จะปรากฏแถบ Task Pane (บานหน้าต่างบน) ขึ้นมาเช่นเดียวกัน
2.Click ที่ฐานข้อมูลเปล่าจะปรากฏหน้าต่าง “แฟ้มฐานข้อมูลใหม่” ทำการตั้งชื่อแล้ว Click ที่สร้าง






3.สร้างฐานข้อมูลเสร็จ ให้ทำการสร้างตาราง ฟอร์ม แบบสอบถาม รายงาน ขึ้นมา





4.การสร้างตารางเมื่อพิมพ์หัวข้อตารางเสร็จให้เลือกเป็น “คีย์หลัก”



วันเสาร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

ความหมายของ แบบจำลองข้อมูล (data model)
แบบจำลองข้อมูล (data model) คือ โครงสร้างข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลให้ผู้ใช้เห็นและเข้าใจ

ประเภทของแบบจำลองข้อมูล

1. แบบจำลองข้อมูลแบบไฮราคี (Hierachical data model)
พัฒนาโดย บ. ไอบีเอ็ม ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม, DBMS ชื่อ IMS/VS (Information Management System/Virtual Storage) ใช้ภาษา DL/1 (Data Language 1)
- นำเสนอข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในรูปแบบของ โครงสร้างต้นไม้ (Tree structure)
- เรคคอร์ดที่อยู่ระดับบนสุดเรียกว่า รูต (Root) หรือ เรคอร์ด พาเรนต์ (parent – parent record) เรคอร์ดระกับถัดมาเรียกว่า เรคอร์ด ไชลด์ (Child record)
- parent record สามารถมี Child record ได้หลายเรคอร์ด แต่ Child record แต่ละเรคอร์ด จะมี parent record ได้เพียงเรคอร์ดเดียวเท่านั้น


2. แบบจำลองข้อมูลแบบเครือข่าย ( network data model )
พัฒนาขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาความสัมพันธ์แบบหลายต่อหลาย (M : N)
- นำเสนอข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในแบบมัลติลิสต์ (multilist) หรือหลายรายการ
- มีลักษณะการเชื่อโยงข้อมูลให้เชื่อมเป็นจุด
- โครงสร้างของแบบจำลองเป็นเซตของเรคอร์ด (Record Set) เรคอร์ดแต่ละชุดประกอบด้วย Owner record และ Member record - Member record สามารถมี Owner record ได้หลายเรคอร์ด




3. แบบจำลองข้อมูลแบบสัมพันธ์ (Relation data model)
- นำเสนอข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในรูปรีเลชั่น (Relation) ซึ่งใช้ตารางนำเสนอแทน

4. แบบจำลองข้อมูลแบบออบเจกต์ (Object-oriented data model)

-นำเสนอข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในรูปของออบเจกต์ (Object)

แบบจำลองข้อมูล (Data Model)
ข้อมูลในฐานข้อมูลส่วนใหญ่มักจะมีรายละเอียดของข้อมูลมากมายมหาศาล ซึ่งการจัดเก็บและเลือกใช้ให้มีประสิทธิภาพนั้น จะต้องอาศัยเทคนิคต่างๆ เข้ามาช่วย และรายละเอียดบางอย่างที่ยุ่งยากซับซ้อนมากก็ควรจะถูกซ่อนไว้จากผู้ใช้ทั้งนี้เพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน รูปแบบที่จัดเก็บรายละเอียดของข้อมูลนี้ แบ่งได้เป็น 3 ระดับด้วยกัน ได้แก่
แบบจำลองข้อมูลระดับโครงสร้าง หรือระดับล่าง
แบบจำลองข้อมูลระดับโครงสร้าง หรือระดับล่าง (Physical Data Model หรือ Low-Level Data Model) วิธีการที่ใช้ในการอธิบายรายละเอียดในการจัดเก็บข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ซึ่งก็คือ โครงสร้างของข้อมูลทั้งหมดในฐานข้อมูล
แบบจำลองข้อมูลระดับสูง (Conceptual Data Mode)
แบบจำลองข้อมูลระดับสูง (Conceptual Data Mode) วิธีการในการจัดเก็บข้อมูลสำหรับผู้ใช้งานทั่วไป
แบบจำลองข้อมูลระดับพัฒนา (Implementation Data Model)
แบบจำลองข้อมูลระดับพัฒนา (Implementation Data Model) วิธีการในการจัดเก็บข้อมูลซึ่งผู้ใช้สามารถเข้าใจได้ และสามารถเห็นรายละเอียดของการจัดเก็บข้อมูลบางส่วนได้ด้วย

วันศุกร์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

H. SELECT Studentid,Name,Advisor,Class,Hobby
FROM Student
WHERE Hobby LIKE'ฟังเพลง';

เมื่อแปลเป็นภาษามนุษย์จะได้ว่า “ให้เลือกแสดงฟิลด์รหัสนิสิต ชื่อนิสิต อาจารย์ที่ปรึกษา ชั้นปี และงานอดิเรก จากตารางนักเรียน (Student) โดยมีเงื่อนไขคืองานอดิเรก (Hobby) จะแสดงเฉพาะคนที่อ่านหนังสือ”

วันพฤหัสบดีที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2552


ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ Geographic Information System : GIS คือ กระบวนการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพื้นที่ด้วย ระบบคอมพิวเตอร์ ที่ใช้กำหนดข้อมูลและสารสนเทศ ที่มีความสัมพันธ์กับตำแหน่งในเชิงพื้นที่ หรือจะกล่าวอย่างง่ายๆก็ได้ว่าเป็นการจัดการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขที่ สัมพันธ์กับตำแหน่งในแผนที่ ตำแหน่ง เส้นรุ้ง เส้นแวง ข้อมูลและแผนที่ใน GIS เป็นระบบข้อมูลสารสนเทศที่อยู่ในรูปของ ตารางข้อมูล และ ฐานข้อมูลที่มีส่วนสัมพันธ์กับข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ซึ่งรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลเชิงพื้นที่ทั้งหลาย จะสามารถนำมาวิเคราะห์ด้วย GIS และทำให้ สื่อความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับช่วงเวลาได้

1.อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์รวมไปถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ เช่น Digitizer, Scanner, Plotter, Printer หรืออื่น ๆ เพื่อใช้ในการนำเข้าข้อมูล ประมวลผล แสดงผล และผลิตผลลัพธ์ของการทำงาน
2. โปรแกรม คือชุดของคำสั่งสำเร็จรูป เช่น โปรแกรม Arc/Info, MapInfo ฯลฯ ซึ่งประกอบด้วยฟังก์ชั่น การทำงานและเครื่องมือที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับนำเข้าและปรับแต่งข้อมูล, จัดการระบบฐานข้อมูล , เรียกค้น , วิเคราะห์ และ จำลองภาพ
ข้อมูล คือข้อมูลต่าง ๆ ที่จะใช้ในระบบ GIS และถูกจัดเก็บในรูปแบบของฐานข้อมูลโดยได้รับการดูแล จากระบบจัดการฐานข้อมูลหรือ DBMS ข้อมูลจะเป็นองค์ประกอบที่สำคัญรองลงมาจากบุคลากร
4. บุคลากร คือ ผู้ปฏิบัติงานซึ่งเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เช่น ผู้นำต้องใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ บุคลากรจะเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดในระบบ GIS เนื่องจากถ้าขาดบุคลากร ข้อมูลที่มีอยู่มากมายมหาศาลนั้น ก็จะเป็นเพียงขยะไม่มีคุณค่าใดเลยเพราะไม่ได้ถูกนำไปใช้งาน อาจจะกล่าวได้ว่า ถ้าขาดบุคลากรก็จะไม่มีระบบ GIS
5. วิธีการหรือขั้นตอนการทำงาน คือวิธีการที่องค์กรนั้น ๆ นำเอาระบบ GIS ไปใช้งานโดยแต่ละ ระบบแต่ละองค์กรย่อมีความแตกต่างกันออกไป ฉะนั้นผู้ปฏิบัติงานต้องเลือกวิธีการในการจัดการกับปัญหาที่เหมาะสมที่สุดสำ หรับของหน่วยงานนั้น ๆ เอง

วันพฤหัสบดีที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

Spatial Distribution = การกระจายเชิงพื้นที่

เป็นการกระจัดกระจายตัวหรือการกระจุกตัวที่อยู่ในพื้นที่ จะอยู่ในลักษณะที่กระจุกตัวบางพื้นที่หรือแยกกระจายอาจจะอยู่ใกล้กันหรือไกลกันขึ้นอยู่กับบิเวณพื้นที่ต่างๆ
Spatial Differentiation = ความแตกต่างเชิงพื้นที่

ในพื้นที่จะมีความแตกต่างกันในหลายๆด้าน พื้นที่แต่ละส่วนจะไม่เหมือนกันในหลายประการ อาจเป็นสิ่งแวดล้อม พื้นที่สูง-ตำของแต่ละบริเวณนั่นๆ
Spatial Diffusion = การแพร่กระจายในเชิงพื้นที่

เป็นการกระจายจากพื้นที่หนึ่งไปอีกพื้นที่หนึ่ง อาจจะเป็นการอพยพย้ายถิ่นฐาน หรือมีการกระจายของสิ่งใดสิ่งหนึ่งแล้วกระจายออกไปตามพื้นที่ต่างๆ
Spatial Interaction = การปฏิสัมพันธ์ในเชิงพื้นที่

พื้นที่ที่ทำกิจกรรมจะสัมพันธ์กับพื้นที่อื่นและพื้นที่นั้นๆ ในแต่ละส่วนของกิจรรมจะแยกออกตามเขตพื้นที่ของตัวเองในพื้นที่แต่ละส่วน
Spatial Temporary = ช่วงเวลาในเชิงพื้นที่

ช่วงเวลาในแต่ละพื้นที่จะแตกต่างกันออกไปในช่วงของการแบ่งเขตเวลา การกระทำหรือกิจกรรมที่ก็จะต่างกันออกไปตามช่วงเวลาของพื้นที่แต่ละส่วน

ทฤษฏีทั้ง 5 นี้ มีความสัมพันธ์กันอย่างมากจะขาดทฤษฏีใดไม่ได้

วันอังคารที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ข้อมูลแตกต่างจากสารสนเทศ คือ ข้อมูลเป็น ส่วนของข้อเท็จจริง โดยได้จากการเก็บมาจากเหตุการณ์ต่างๆ สารสนเทศคือข้อมูลที่นำมาผ่านกระบวนการเพื่อสามารถนำไปใช้ ในการตัดสินใจต่อไปได้ทันทีหรือการนำข้อมูลมาประมวลผลเพื่อการนำไปใช้งาน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ตัวอย่างข้อแตกต่างระหว่างข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูล: นิสิตในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งมีจำนวน 36,000 คน อาจารย์มีจำนวน 350 คน
สารสนเทศ: อัตรานิสิตต่ออาจารย์ของมหาวิทยาลัยแห่งเดียวกัน = 36,000/350 = 102.86

วันพฤหัสบดีที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ข้อมูล (data) คือ ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ ข้อมูลจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ดังจะเห็นจากกระบวนการการเลือกตั้งที่ผ่านมา หลายพรรคการเมืองมีการเทคโนโลยีรวบรวมข้อมูล หาวิธีการที่จะให้ได้ข้อมูลอย่างรวดเร็ว และเมื่อสถานการณ์หรือเหตุการณ์บางอย่างผันแปรขึ้น การเตรียมการหรือการแก้สถานการณ์จะดำเนินการได้อย่างทันท่วงที


สารสนเทศ (infoemation)หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ หรืออาจกล่าวได้ว่า สารสนเทศ เกิดจากการนำข้อมูล ผ่านระบบการประมวลผล คำนวณ วิเคราะห์และแปลความหมายเป็นข้อความที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้



ข้อมูลสารสนเทศ (information system) หมายถึง ข้อมูลที่นำมาประมวลผล แล้วเสนอออกมาในรูปที่ผู้ใช้รู้หรือเข้าใจความหมาย


ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) คือการนำเสนอข้อมูลของสถานที่ใดๆ ในลักษณะของแผนที่ เพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจ ของผู้ใช้ ซึ่งตัวข้อมูลที่นำเสนอมีลักษณะเป็นการประกอบกันของชั้นข้อมูลหลายๆ ระดับ ชั้นข้อมูลที่นำมาประกอบกันขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของผู้ใช้เป็นหลักเช่น การค้นหารายละเอียดของสถานที่ต่างๆ การวิเคราะห์ความเสียหาย ของสภาวะแวดล้อม เป็นต้น



ฐานข้อมูล(Database) คือระบบที่รวบรวมข้อมูลไว้ในที่เดียวกัน ซึ่งประกอบไปด้วยแฟ้มข้อมูล (File) ระเบียน (Record) และ เขตข้อมูล (Field) และถูกจัดการด้วยระบบเดียวกัน โปรแกรมคอมพิวเตอร์จะเข้าไปดึงข้อมูลที่ต้องการได้ อย่างรวดเร็ว ซึ่งอาจเปรียบฐานข้อมูลเสมือนเป็น electronic filing system

ผู้ติดตาม

คลังบทความของบล็อก